รวบรวมไอเดียและแนวทางการฟื้นฟูธุรกิจอาหาร จากวิกฤตโควิด 19 สู่โอกาสธุรกิจของอาหารแห่งอนาคต

  • 16
  •  
  •  
  •  
  •  

[ข่าวประชาสัมพันธ์]

 

งานระดมสมองจากผู้บุกเบิกในอุตสาหกรรมอาหาร

ด้วยความร่วมมือจากตัวแทนภาคเอกชนที่สําคัญของประเทศ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารแห่งประเทศไทย ภาคเอกชนอุตสาหกรรมอาหาร โดยกลุ่ม FoodConnext  สตาร์ทอัพและผู้บุกเบิกด้านอาหารอนาคตในประเทศไทยร่วมกับ กลุ่ม Future Food Network

เกี่ยวกับ ไบโอบัดดี้และ เทสบัด

เทสบัด แลป และ ไบโอบัดดี้ องค์กรด้านนวัตกรรมอาหารอนาคต ผู้บุกเบิกด้านการพัฒนาธุรกิจ สตาร์ทอัพ ด้านอาหารแห่งอนาคตยั่งยืนในประเทศไทยกว่า 3 ปีริเริ่มการทํางานกับสตาร์ทอัพ เอส เอ็มอีนักวิจัยด้าน Food technology / Bio technology แบบพาร์ทเนอร์ชิปโมเดล โดยจัดตั้ง Kitchen Incubation ที่มี Kitchen Lab & Future Food Simulation Platform เพื่อบ่มเพาะและ เร่งรัดการเติบโต สนับสนุนสตาร์ทอัพและส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อการทํางานเชิงรุกสร้างสรรค์ ภายใต้กลุ่ม Future Food Network โดยมุ่งหวังให้เกิดการพัฒนาและทํางานเชิงรุกแบบบูรณา การ ในห่วงโซ่อาหารไทยให้เกิดประโยชน์สู่”สตาร์ทอัพ” และ ”คนต้นนํ้า” หรือภาคเกษตรไทย

เรียบเรียงและสรุปโดย คุณสันติอาภากาศ

CEO / CO-FOUNDER BIO BUDDY และ TASTEBUD LAB

คณะกรรมการธุรกิจอาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต (PFC) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

 

เกี่ยวกับกิจกรรม

จากวิกฤตที่เกิดขึ้นกับโลกของเราในขณะนี้ ทําให้เกิดความเสียหายต่อหลากหลายธุรกิจและหาก มองอีกมุมหนึ่ง นับเป็นช่วงเวลาที่ทุกฝ่ายควรร่วมกันทํางานและร่วมมือกันอย่างบูรณาการ เพื่อ สร้างความร่วมมือ ทํางานเชิงรุก ฟื้นฟูเศรษฐกิจ ตลอดจนร่วมมือสู่การพัฒนาด้านอาหารแห่ง อนาคตยั่งยืนให้เกิดขึ้นในประเทศไทย

งานสัมมนาด้านอาหารอนาคต “WHERE IS THE FUTURE OF FUTURE FOOD 2021” เป็น Virtual  Future Food Ideation Workshop ที่จัดขึ้นโดยเทสบัด แลป และ ไบโอ บัดดี้ เป็นครั้งแรกใน ประเทศไทย ในรูปแบบ VIRTUAL FUTURE FOOD IDEATION เพื่อเติมเต็มประสบการณ์ ด้านอาหารแห่งอนาคต และร่วมระดมไอเดีย เพื่ออนาคตของ อาหารแห่งอนาคต โดยได้รับ ความร่วมมือจากตัวแทนภาคเอกชนที่สําคัญ อย่างสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคมผู้ผลิต อาหารแห่งประเทศไทย กลุ่ม FoodConnext กลุ่ม Synbio Consortium โดยสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย รวมถึงสตาร์ทอัพ ผู้บุกเบิกด้านอาหารอนาคตในประเทศไทย และกลุ่ม Future  Food Network รวมทังสิ้น 21 องค์กร ดยมีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมกว่า 21,500 คน และได้รับไอเดีย ด้านการพัฒนาด้านอาหารแห่งอนาคตในประเทศไทยจากผู้เข้าร่วมกว่า 180 ไอเดีย

ด้วยโอกาสและเทรนด์การเติบโตด้านอุตสาหกรรมอาหารอนาคตทั่วโลก 6 หมวดหมู่สําคัญ (Alternative Protein, Synthetic Food & Drink, Functional Food, Fermented Food,  CBD-Infused, Personalized Nutrition) คาดการณ์ว่ามีอัตราการเติบโตสูงและมีมูลค่ารวม กว่า 16 ล้านล้านบาท ภายในปี2025 ประกอบกับสถานการณ์ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในกุญแจสําคัญ ที่ทุกภาคฝ่ายมาร่วมกันสนับสนุน บุกเบิกอาหารอนาคตและมาร่วมกันสร้างเครือข่ายด้านอาหาร อนาคต Future Food Network ถือเป็นโอกาส ในการร่วมกันฟื้นฟูเศรฐกิจจากวิกฤติโควิด 19

ส่วนหนึ่งของรายชื่อและหน่วยงานผู้เข้าร่วมระดมสมองในกิจกรรม ปี 2020-2021

  • ตัวแทนภาคธุรกิจและการค้า คุณวิศิษฐ์ลิ้มลือชา รองประธานสภาหอการค้าไทย / ประธาน ASEAN-BAC ประเทศไทย / ประธานกลุ่ม FoodConnext
  • ตัวแทนภาคธุรกิจและการค้า คุณอภิรักษ์โกษะโยธิน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท วีฟู้ดส์(ประเทศไทย) จํากัด • ตัวแทนภาคเอกชนด้านเทคโนโลยีชีวภาพ คุณกิตติพงศ์ลิ่มสุวรรณโรจน์Chief Executive Officer at BBGI Public Company Limited
  • ตัวแทนภาคผู้ผลิตเทคโนโลยีด้านอาหาร Mr. Robert Becher จาก INOX Australia
  • ตัวแทนภาคผู้ผลิตวัตถุดิบ คุณยุทธศาสตร์คุณธรวิวัฒน์กรรมการผู้จัดการ Abbra Corporation Limited • ตัวแทนหน่วยงานรัฐ ดร.ปรีสาร รักวาทิน รักษาการ ผู้อํานวยการ ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมและ ธุรกิจสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA)
  • ตัวแทนหน่วยงานรัฐ คุณพีชยา จิระธรรมกิจกุล ผู้เชี่ยวชาญจาก สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
  • ตัวแทนหน่วยงานรัฐ ผศ.ดร. นภัสรพีเหลืองสกุล ผู้อํานวยการสถาบัน Food Innopolis @KMITL สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • ตัวแทน Startup สายแพลนต์เบส คุณสมิต ทวีเลิศนิธิ CEO Let’s Plant Meat

เรียบเรียงและสรุปโดย คุณสันติอาภากาศ

CEO / CO-FOUNDER BIO BUDDY และ TASTEBUD LAB

คณะกรรมการธุรกิจอาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต (PFC) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

 

  • ตัวแทน Startup สายโปรตีนทางเลือกจากแมลง คุณพูนศักดิ์เธียไพรัตน์CEO The Bricket
  • ตัวแทน Startup สายโปรตีนจากพืชทางน้ํา ผศ.ดร.เมธา มีแต้ม CEO & Co-Founder Advamced Greenfarm Ltd. • ตัวแทนภาคเกษตร คุณวานิชย์วันทวีเจ้าของและผู้ก่อตั้ง ว.ทวีฟาร์ม ผู้บุกเบิกระบบ Bio Dynamic • ตัวแทนองค์กรด้านนวัตกรรมอาหาร คุณสันติอาภากาศ CEO & Co-Founder Bio Buddy และ TASTEBUD LAB / คณะกรรมการธุรกิจอาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต (PFC) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
  • ตัวแทนองค์กรด้านนวัตกรรมอาหาร เชฟโอ ตนัย พจน์อารีย์Flavour Specialist TASTEBUD LAB

จากกิจกรรมที่ผ่านมา สรุปได้เป็นกุญแจสําคัญ และ 2 หัวใจสําคัญ สู่การเติบโตก้าวกระโดดอย่างยั่งยืน

  • กุญแจสําคัญ – Future Food System Framework
  • 2 หัวใจหลักที่สําคัญเพื่อพัฒนาด้านอาหารอนาคตที่สําคัญของประเทศไทย (REIMAGINE & REINVENET for our Future of Food)

บทสรุปที่ 1 : กุญแจสําคัญ Future Food System Framework 6 เสาหลักเพื่อการวางรากฐานการพัฒนาห่วงโซ่อาหารแห่งอนาคตยั่งยืน โดย 6 เสาหลักนี้เป็น การวางเสาหลักคือกุญแจสําคัญสู่การพัฒนาห่วงโซ่อาหารที่ยังยืน ภายใต้ยุทธศาสตร์BCG โดย แบ่งจาก 2 หมวดหมู่หลัก คือ ภาคการผลิตและการบริโภค การร่วมกันสนับสนุน ทําให้เป็น แรงผลักดันให้เกิดขึ้นได้เร็วและได้จริง และมุ่งเป้าทํางานเชิงรุกแบบเกื้อกูล และสนับสนุนผู้บุกเบิก บน 6 เสาหลักที่สําคัญเพื่อพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพสู่การแข่งขันอุตสาหกรรมอาหารแห่ง อนาคตของโลกอย่างทันท่วงที(รายละเอียดและความหมาย ตามภาพที่1)

 

ภาพ 1: FRAMEWORK และคําอธิบาย 6 เสาหลัก เพื่อการพัฒนายัง่ ยืนของห่วงโซ่อาหารแห่งอนาคต

เรียบเรียงและสรุปโดย คุณสันติอาภากาศ

CEO / CO-FOUNDER BIO BUDDY และ TASTEBUD LAB

คณะกรรมการธุรกิจอาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต (PFC) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

 

– สร้างสรรค์โอกาสของการเติบโตก้าวประโดด (exponential growth) โดยทวีการเติบโตและ ทวีคูณคุณค่าผลกระทบ (impact) ในแนวคิดการทํางานร่วมกัน synergy – พัฒนาเสาหลัก สร้างห่วงโซ่คุณค่าเพื่อความมันคงอาหารในอนาคต บนแนวคิด “resilience  food value chain และ circular economy”

 

ภาพ 2: ผู้บุกเบิกบน FRAMEWORK เพื่อการพัฒนายัง่ ยืนของห่วงโซ่อาหารแห่งอนาคต

 

บทสรุปที่ 2 : 2หัวใจหลักสําคัญ เพื่อพัฒนาด้านอาหารอนาคตที่สําคัญของประเทศไทย รวบรวมจากกิจกรรม Future Food Ideation ปี2020-2021 แนวความคิด เทคโนโลยี และ หมวดหมู่อุตสาหกรรมในประเทศที่สําคัญต่อการพัฒนาด้านอาหารแห่งอนาคตในประเทศไทย

 

ภาพที่3 แนวคิด ด้านการพัฒนาห่วงโซ่อาหารแห่งอนาคตยั่งยืน

เรียบเรียงและสรุปโดย คุณสันติอาภากาศ

CEO / CO-FOUNDER BIO BUDDY และ TASTEBUD LAB

คณะกรรมการธุรกิจอาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต (PFC) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

 

การนํามุมมองด้านการพัฒนายั่งยืนหรือ Sustainable Development ที่เป็นแนวทางที่ UN’s  sustainable development มาร่วมกันพัฒนา เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านอาหารแห่งอนาคตที่ สร้าง impact ด้านการฟื้นฟูเศรษฐกิจและ impact ด้านความมั่นคงยั่งยืนทางอาหารและ สิ่งแวดล้อม

2.1) 5 ไอเดีย ในการนําเทคโนโลยีร่วม REIMAGINE OUR FOOD VALUE CHAIN ตั้ง คําถามใหม่เพื่อสร้างสรรค์ห่วงโซ่อาหารแห่งอนาคตยั่งยืน

อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานของการดํารงอยู่ของมนุษย์ และ เป็น 1 ใน 4 ปัจจัยหลัก ที่สร้าง ผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน ซึ่งการที่เราจะมีความมันคงยั่งยืนด้านอาหาร เพื่อตอบรับจํานวน ประชากรโลก 8.5 พันล้านคนในปี2030 จําเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายควรที่จะบูรณาการและทํางาน เชิงรุกกร่วมกัน ตลอดจนแนวคิดที่ร่วมสร้างและนํา 5 เทคโนโลยีที่สําคัญมาพัฒนา

  • BIO TECHNOLOGY เทคโนโลยีชีวภาพด้านอาหาร
  • AUTOMATION เทคโนโลยีเสริมระบบการผลิตเกษตร-แปรรูปอาหาร
  • FOOD PROCESS & HARDWARE เทคโนโลยีอุปกรณ์การแปรรูปอาหาร 4. BIG DATA & AI ปัญญาประดิษฐ์และระบบข้อมูลด้านเกษตรอาหารประเทศ 5. BLOCKCHAIN บล็อกเชนและการตรวจสอบย้อนกลับเพื่อความปลอดภัย ความโปร่งใส และ ความมั่นใจ ด้านระบบอาหารสู่ประชาคมโลก

2.2) REINVENT FOR OUR FUTURE OF FOOD “คิดใหม่-ทําใหม่” เพื่อสร้างสรรค์ห่วงโซ่ อาหารแห่งอนาคตยั่งยืน

จากการรวบรวมข้อมูลบนจุดแข็งและโอกาสของประเทศไทย เราได้หมวดหมู่ที่สําคัญต่อการมุ่ง เป้าพัฒนา ส่งเสริม แบ่งเป็น 3 หมวดหมู่ที่สําคัญคือ

  • FUTURE FOOD CPGs นําจุดเด่นอาหาร รสชาติอัตลักษณ์พัฒนาอาหารแปรรูปใน หมวดหมู่อาหารแห่งอนาคตรูปแบบยั่งยืนที่โลกต้องการ
  • FOOD SERVICES & FOOD RETAIL พัฒนาบริบทธุรกิจอาหารและรูปแบบการค้าปลีก การกระจายอาหารด้วยเทคโนโลยีและเทรนด์ความต้องการด้านอาหารแห่งอนาคต 3. EDUCATION FOOD & AGRICULTURE พัฒนาหลักสูตรการเรียนและการพัฒนาคน

เพื่อพัฒนาธุรกิจในประเทศ ด้านรากและอัตลักษณ์ของอาหารในประเทศไทยตลอดจนด้าน เทคโนโลยีเกษตร

เรียบเรียงและสรุปโดย คุณสันติอาภากาศ

CEO / CO-FOUNDER BIO BUDDY และ TASTEBUD LAB

คณะกรรมการธุรกิจอาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต (PFC) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

 

ภาพที่4 IDEA & AREA FOR REIMAGINE – REINVENT FOR FUTURE FOOD VALUE CHAIN

 

จากบทสรุปแนวทางเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแบบยั่งยืน ขอนําเสนอหนึ่งในตัวอย่าง จากผู้บุกเบิกด้านอาหารแห่งอนาคต 1 ใน 6 เสาหลักที่มีความสําคัญไปสู่การพัฒนาห่วงโซ่อาหารที่ ยั่งยืน “Innovative Practice” ที่ได้ร่วมในกิจกรรม ทางบริษัท บีบีจีไอ จํากัด (มหาชน) ได้มีการนําBio Technology (ด้าน Synthetic Bio Technology) เข้ามาเป็นโอกาสหนึ่งในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแห่งอนาคตประเทศไทย ที่จะสร้างหรือสมดุลกับทรัพยากรที่มีอยู่ ของประเทศไทย และผลักดันให้เกิด อาหารแห่งอนาคต ยั่งยืน (Future Food)

เรียบเรียงและสรุปโดย คุณสันติอาภากาศ

CEO / CO-FOUNDER BIO BUDDY และ TASTEBUD LAB

คณะกรรมการธุรกิจอาหารแปรรูปและอาหารแห่งอนาคต (PFC) สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

 

ทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของไอเดียที่ถูกยกขึ้นมาพูดถึง เป็นประเด็นสําคัญต่อยอดจากงาน Future Food Ideation 2020 ที่มีการพูดถึงการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นในอุตสาหกรรม อาหารไทย (Reimagine Food Chain) และเพิ่มเติมด้วยการนําเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเร่ง ให้เกิด เครือข่ายด้านอาหารอนาคต (Future Food System) และร่วมกันเกื้อกูลกับ ‘ผู้บุกเบิก’ เพื่อ อนาคตของอาหารแห่งอนาคตที่ยั่งยืน

 

 

โดยในโอกาสต่อไป จะมีการเจาะลึกและเล่าถึงโอกาสของเทคโนโลยีบริษัท และ สตาร์ทอัพผู้บุกเบิก ที่มาร่วมกันในการพัฒนาเครือข่ายอาหารอนาคตร่วมกัน หากสนใจสามารถติดต่อเพื่อสัมภาษณ์ ข้อมูลเชิงลึกได้โดยติดต่อที่

LINE: @tastebudlab

โทร: 095-732-4471

เว็บไซต์www.tastebudlab.com

อีเมล tastebudthailand@gmail.com

[ข่าวประชาสัมพันธ์]


  • 16
  •  
  •  
  •  
  •